ครอบครัวพอเพียง คือ รากแก้วของแผ่นดิน
Foundation Of Sufficiency Economy Family (FOSEF)
ไม่มีส่วนไหน สำคัญเท่าส่วนรวม เมื่อส่วนรวมพ้นทุกข์ เราจะสุขร่วมกัน
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
จากพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
วารสารชัยพัฒนา : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๒
“...เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง
สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม
แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป...”
หลักคิดที่สำคัญต่อชีวิต ต่อการปกครองและการบริหารบ้านเมือง เพื่อส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วประเทศได้รับรู้
เรียนรู้ เข้าใจและนำมาปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พัฒนาต่อยอดทางการศึกษา การดำเนินงานทั้งธุรกิจเอกชน รัฐวิสาหกิจ
และข้าราชการ รวมถึงการบริหารชุมชนและบริหารประเทศ จึงเป็นที่มาของการจัดตั้ง “มูลนิธิครอบครัวพอเพียง”
โดยการขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ความมุ่งหวังเพื่อให้ประเทศชาติ ประชาชนมีความสุข สงบ พึ่งพาตนเองได้และพัฒนาได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ
คือ “ครอบครัว” เพราะ “สังคมดี เริ่มต้นที่ครอบครัว”
จุดเริ่มต้นของ... มูลนิธิครอบครัวพอเพียง
-
วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ กำเนิดครอบครัวพอเพียงโดย นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา ได้นำเสนอโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน
แก่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการและคณะกรรมการมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด -
มติที่ประชุมคณะกรรมการมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาดได้รับโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน
เพื่อการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้ "มูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด" -
โดยใช้ชื่อ ชมรมครอบครัวพอเพียง ขับเคลื่อน โครงการและสร้างเครือข่ายครอบครัวพอเพียงมาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ
-
ตุลาคม ๒๕๕๖ จดจัดตั้งมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ประธานกิตติมศักดิ์ : นายวิชัย ทองแตง
ประธานกรรมการ
๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ นายวัลลภ พลอยทับทิม
๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ รศ.พิเศษ ดร.สุชานี แสงสุวรรณ
๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์
๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา
๒๕๖๔ - ๒๕๖๗ นางสาวดุริยา อมตวิวัฒน์
๒๕๖๗ - ปัจจุบัน เรืออากาศโทรณชัย วงศ์ชะอุ่ม
ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเหรัญญิก
กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก
กรรมการและเลขาธิการ
กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ
รายนามคณะกรรมการ
เรืออากาศโทรณชัย วงศ์ชะอุ่ม
พลอากาศเอกฐากูร นาครทรรพ
พลตรีอำนาจ จันทรนิมะ
ดร.สราณีย์ สุทธิปก
ผศ.ดร.อรอนงค์ สรรเสริญ
พ.ต.อ.หญิงสุวรินทร์ เลี้ยงกอสกุล
นางสาวทัศณี คนการ
นางประหยัด ทองภูธรณ์
นางจันทร์กรา บัวจง
นางมาริสา อินลี
นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์
นายเอกรัตน์ คงรอด
นายอภีม คู่พิทักษ์
นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา
นางสาวเอื้อมพร นาวี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ, อนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียง
-
นายธนพร เทียนชัยกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
-
นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
-
นายชัชชัย สุขขาว ประธานอนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาสังคม
-
นางอมรรัตน์ ศิริมิตรตระกูล ประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียงในเขตกรุงเทพมหานคร
-
นางกันตาภา สุทธิอาจ รองประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียงในเขตกรุงเทพมหานคร
-
นางมาริสา อินลี ประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียงในภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-
นางประหยัด ทองภูธรณ์ รองประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียงในภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-
นางสุวรรณา ธานี รองประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนดูแลและติดตามศูนย์ครอบครัวพอเพียงในภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ปรึกษามูลนิธิ
-
พระธรรมกิตติเมธี (เกษม สญฺญโต ป.ธ.๙) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสวิหาร (ที่ปรึกษาด้านศาสนา)
-
พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
-
พลโท มีชัย ห้องริ้ว นายกสมาคมฯ ไทย-เมียนม่า จังหวัดราชบุรี
-
นายพัชรดิษฐ์ สินสวัสดิ์ กรรมการคณะกรรมการกลุ่มค้าชายแดนและข้ามแดน
-
อ.ดร.วนภัทร์ แสงแก้ว หัวหน้าสาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
-
ผศ.ดร.ณัฐมน พันธุ์ชาตรี รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
-
ดร.ธนภัทร จันทร์เจริญ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
-
ดร.เบญจพร จั่นเจริญ ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก
-
ดร.กัมปนาท บริบูรณ์ หัวหน้าภาควิชาการศึกษาผู้ใหญ่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-
ดร.นฤมล พระใหญ่ อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-
ผศ.ดร.ชลพร กองคำ อาจารย์ประจำคณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
-
ดร.กาญจนา สุทธิเนียม อาจารย์ประจำคณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
-
รศ.นงเยาว์ เนาวรัตน์ อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-
ดร.อารยา สุขสม อาจารย์คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
-
อ.วรลักษณ์ เจริญศรี อาจารย์ประจำคณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
-
ผศ.อานนท์ ศรีบุญโรจน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
-
ดร.ปิยฉัตร กลิ่นสุวรรณ อาจารย์ประจำคณะสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
-
ดร.ไพวัลย์ เหล็งสุดใจ อดีตผู้อำนวยการศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนสตรีวัดระฆัง
-
นางระพีพันธ์ นามฉิม ผู้สอบบัญชีกิตติมศักดิ์
ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
วิสัยทัศน์
“ปลุกจิตสำนึกความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตอาสา”
วัตถุประสงค์
-
เพื่อปลุกจิตสำนึกให้เยาวชนและครอบครัวมีความรัก ความกตัญญู รู้คุณชาติ ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์
-
เพื่อปลุกจิตสำนึกให้เยาวชนและครอบครัวมีคุณธรรมมีจริยธรรม รังเกียจการทุจริตและถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
-
เพื่อให้ความช่วยเหลือในการให้คำปรึกษาแนะนำ จัดฝึกอบรมดูงาน ผลิตเอกสารและเผยแพร่เรื่องเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่เยาวชนและครอบครัว
เพื่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนในการบริหารองค์กร ห้างร้าน ชุมชนและประเทศชาติ -
เพื่อจัดให้มีการศึกษา วิจัยและสัมมนาเกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองให้แก่เยาวชน ครอบครัว ชุมชนและองค์กรทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน
-
ร่วมมือกับสถาบันและองค์กรทั้งในและต่างประเทศที่มีวัตถุประสงค์ทำนองเดียวกัน
-
ดำเนินการเพื่อกิจสาธารณะประโยชน์อื่น รวมทั้งให้ความร่วมมือกับองค์การการกุศลอื่นๆ
-
ไม่ดำเนินการเกี่ยวกับการเมืองแต่ประการใด
กระบวนการพัฒนา ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
การพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ
-
พัฒนาความคิด เสริมสร้างการเรียนรู้ ปลุกจิตสำนึกความซื่อสัตย์ รับผิดชอบและสร้างเครือข่ายจิตอาสาทั่วประเทศ
-
จัดกิจกรรมค่ายแกนนำทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคีลดความคิดเรื่องความเหลื่อมล้ำ ความไม่เท่าเทียม
สร้างขบวนการการแบ่งปันและใส่ใจการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม -
จัดกิจกรรมค่ายแกนนำทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
การพัฒนาศักยภาพครู
-
จัดกิจกรรมเสริมพลังความคิดบวก กระตุ้นพลังคุณค่าของคำว่า “ครู” พัฒนาต่อยอดสู่ “ซุปเปอร์ครู”
-
จัดกิจกรรมเสริมสร้างความคิด และสร้างเครือข่าย “ซุปเปอร์ครู” เพื่อความยั่งยืน
-
จัดกิจกรรมร่วมกันออกแบบบูรณาการความรู้คู่ความดี เพื่อสร้างคนดีสู่สังคมในอนาคต
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆ
-
การศึกษาดูงานโครงการพระราชดำริ
-
การศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบของศูนย์ครอบครัวพอเพียง
โรงเรียนคือศูนย์ครอบครัวพอเพียง
องค์ประกอบภายในโรงเรียนทุกภาคส่วนร่วมรณรงค์ปลุกจิตสำนึกความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตอาสา
เผยแพร่กิจกรรมผ่านเครือข่ายศูนย์ครอบครัวพอเพียงทาง Social Network
ติดตามผลงานเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
-
การประชุมเครือข่ายศูนย์ครอบครัวพอเพียง เพื่อแลกเปลี่ยนทางความคิดและร่วมสังเคราะห์ พร้อมถอดบทเรียน
-
การประชุมใหญ่เครือข่ายศูนย์ครอบครัวพอเพียง แสดงศักยภาพ และแถลงผลสำเร็จประจำปี
กิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านมา
เพื่อสังคมที่เท่าเทียม เพราะเราเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และคำมั่นสัญญาที่พวกเรามี
เดินทีละก้าว... สู่ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
๑. ระดมความคิด ครู นักเรียน นักศึกษา
ผู้บริหาร สมาคมผู้ปกครองและสมาคมศิษย์เก่า
๒. วางแผนทีละขั้น ทีละชั้นและลงมือปฏิบัติทันทีอย่างต่อเนื่องและบ่อยครั้ง
๓. กระบวนการบ่มเพาะ สร้างด้วยใจ
ร่วมด้วยแรงในทุกมิติ
๔. ครอบคลุมทุกมิติขยายเครือข่ายจากประถมศึกษามัธยมศึกษา, อุดมศึกษา ไปสู่ชุมชนอย่างยั่งยืน
๕. การประเมินผลการดำเนินงานอย่างกระชับ
จับต้องได้และทวีคูณ
๖. สู่ความสำเร็จ คือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน นิสิต นักศึกษาเป็นที่ต้องการของสังคมและช่วยพัฒนาสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด... ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
-
เกิดการสร้างกระบวนการและปฏิบัติอย่างเด่นชัด
-
มีกลไกและใช้โครงงานปลุกจิตสำนึกเป็นเครื่องมือ
-
พฤติกรรมเชิงบวกเด่นชัดและได้รับการยกย่อง
-
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในสถานศึกษา, โรงเรียน, อาชีวะ, มหาวิทยาลัยประกาศตนเป็น “ศูนย์ครอบครัวพอเพียง”
ผังแสดงความสอดคล้องระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)และพันธกิจของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ศูนย์ครอบครัวพอเพียงทั้งระดับประถม, มัธยมและอุดมศึกษาทุกจังหวัดทั่วประเทศ
-
พันธกิจของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง สอดคล้องกับ SDGs องค์การสหประชาชาติ
-
ด้านศาสนา วัฒนธรรมและสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านประชาธิปไตย ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ
-
ต้นแบบตัวอย่างเครือข่าย พันธกิจของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
ยุทธศาสตร์ด้านศาสนา วัฒนธรรมและสถาบันพระมหากษัตริย์
-
การสร้างหลักสูตรที่มีเนื้อหา ปลูกจิตสำนึกพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ด้านศาสนา วัฒนธรรม
-
ส่งเสริมให้ศูนย์และเครือข่าย มีกิจกรรมตามที่มูลนิธิกำหนดด้านศาสนา วัฒนธรรม ในแผนการเรียนการสอนเพื่อความยั่งยืน
-
ตัวอย่างกิจกรรม เช่น จัดกิจกรรมตามวันสำคัญทางศาสนา, การบรรพชาสามเณรทั่วประเทศ, กิจกรรมคำพ่อสอนและงานจิตอาสาทางด้านพุทธศาสนา,
จิตอาสาเข้าสถานพยาบาลเพื่อช่วยงานพยาบาล, อบรมการช่วยชีวิต -
ยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม
-
การสร้างจิตสำนึกด้านจิตอาสาเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
-
กำหนดกิจกรรมด้านจิตอาสาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
-
ตัวอย่างกิจกรรม การมอบรางวัลและยกย่อง โรงเรียน ครู และนักเรียนที่มีผลงานดีเด่นที่ทำกิจกรรมยาวนาน ต่อเนื่อง มีผลลัพธ์,
กิจกรรมเยาวชนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม, เปลี่ยนขยะเป็นทรัพย์, งานจิตอาสาสร้างฝายชะลอน้ำ
ยุทธศาสตร์ด้านประชาธิปไตย
-
การพัฒนารูปแบบการทำงานของสมาชิกแบบส่งเสริมการสร้างประชาธิปไตย•
-
จัดเวทีรับฟัง ตลอดจนพัฒนากิจกรรมของโครงการต่างๆ ในระดับ ครู และนักเรียนแกนนำแบบมีส่วนร่วม ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การศึกษาดูงานพิพิธภัณฑ์ต้านโกง, กิจกรรม New Gen So good, การประชุมครูแกนนำและการอบรมครู นักเรียน อย่างต่อเนื่องทั่วประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านสังคม
-
ขยายการพัฒนาศักยภาพครูและแกนนำเพื่อให้เกิดกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง กำกับดูแลให้สามารถทำงานได้จริงทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
กิจกรรมค่าย Leader Camp, การพัฒนา Super ครู -
การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
-
ตัวอย่างกิจกรรม เช่น มีช่องทางทำความดีเพื่อให้เยาวชนที่มีคุณภาพได้รับโอกาสในการพัฒนาตนเองด้านการศึกษา,
กิจกรรมความร่วมมือกับองค์กรภาคีในการสร้างความเท่าเทียมทางสังคมแบบทุกมิติทางสังคม, การทำ MOU กับสถาบันการศึกษา,
การใช้ระเบียนความดีเป็นช่องทางการศึกษาต่อ, การส่งเสริมสิทธิ, การเข้าถึงสิทธิประชาชน, ค่าย I Can Do CPR
ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ
-
การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในกิจกรรมหลักของโครงการและนำไปใช้ในชีวิต•
-
ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแนวคิดและฝึกปฏิบัติจริงในด้านเศรษฐกิจ ความพอเพียง การช่วยเหลือตนเอง
-
ตัวอย่างกิจกรรม เช่น จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เยาวชนและสมาชิก ฝึกอาชีพ, จัดทำตลาดนัดชุมชนจากพื้นฐานอาชีพ, การจัดการเรียนรู้ฝึกหัดเก็บออม,
การสร้างบัญชีครัวเรือน
ศูนย์ครอบครัวพอเพียง
ทั้งระดับประถม มัธยมและอุดมศึกษา
ทุกจังหวัดทั่วประเทศ
ต้นแบบตัวอย่างเครือข่าย
พันธกิจของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
สอดคล้องกับ SDGs องค์การสหประชาชาติ
ด้านศาสนา วัฒนธรรมและสถาบันพระมหากษัตริย์
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านประชาธิปไตย
ด้านสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา
นายกก่อตั้ง สโมสรโรตารีราชเทวี
ผู้บริหารฝ่ายการตลาด หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ
ผู้บริหารระดับสูง หนังสือพิมพ์สยามรัฐ
เจ้าของและบรรณาธิการบริหาร นิตยสาร Is am are ครอบครัวพอเพียง
ประธานคณะกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
วุฒิการศึกษา
-
โรงเรียนราชวินิต
-
โรงเรียนเทเวศร์วิทยาคม
-
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ
-
ปริญญาตรี Bachelor of Management & Marketing University of Philippines
-
หลักสูตรการบริหารการจัดการผู้บริหารระยะสั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์
เกียรติบัตรที่ท่านได้รับ
-
หลักสูตรผู้นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร S.E.1
-
หลักสูตรจิตวิทยาและความมั่นคง สถาบันจิตวิทยาความมั่นคงวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 104
เกียรติคุณที่ท่านได้รับ
-
โล่เกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่น โรงเรียนราชวินิต ประจำปีการศึกษา 2549 จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทีมวิทยากร
นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา
นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ
นางสาวเอื้อมพร นาวี
นางสุมาลี โฆษิตนิธิกุล
นายอภีม คู่พิทักษ์
อาจารย์กมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ
วุฒิการศึกษา
-
ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาจิตวิทยา
-
ปริญญาโท สาขาการพัฒนาครอบครัวและสังคม
ประสบการณ์การทำงานและศึกษาดูงาน
-
นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
-
นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ คลินิกนิรนาม สภากาชาดไทย
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน
-
เลขาธิการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
-
กรรมการสภาวิชาชีพ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
-
กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
รางวัลที่ท่านได้รับ
-
นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่น ประเภทผู้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ ประจำปี 2552 จาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
อาจารย์เอื้อมพร นาวี
วุฒิการศึกาษา
-
วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ประสบการณ์การทำงาน
-
เจ้าหน้าที่วิจัย ศูนย์วิจัยการวางแผนครอบครัว ศิริราชพยาบาล
-
วิทยาจารณ์ ฝ่ายวิชาการ สำนักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน
-
กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง
-
วิทยากรฝึกอบรม ครู-อาจารย์วิทยากรแกนนำเยาวชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ
-
วิทยากรให้การฝึกอบรมด้านงานอาสาสมัครให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย
ประวัติวิทยากร
นายอภีม คู่พิทักษ์
วุฒิการศึกษา
-
นิเทศน์ศาสตร์บัณฑิต สาขาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
-
รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก
-
กำลังศึกษาระดับปริญญาเอกรัฐศาสตร์ สาขาปรัชญาการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก
เกียรติบัตรที่ได้รับ
-
หลักสูตรทักษะการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา จากมูลนิธิฮอตไลน์
-
หลักสูตรการตลาดในศตวรรษที่ 21 จากศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
หลักสูตร Critical Thinking for Business คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์การทำงานและศึกษาดูงาน
-
บรรณาธิิการนิตยสาร Is Am Are ครอบครัวพอเพียง
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน
-
กรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง